วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Journal week7

Drivers of Mobile Computing & M-Commerce
-Widespread availability of mobile devices ประเทศไทยมีเบอร์มือถือมากกว่าจำนวนประชากร
-No need for a pc มือถือก็ทำงาน ทำธุรกรรมได้เหมือนคอม ใช้เวลาน้อยกว่าด้วย
-Handset culture เป็นแฟชั่น หรือบางคนบ้าเทคโนฯเปลี่ยนมือถือทุก 6 เดือน
-Declining prices, increased functionalities เทคโนโลยีพัฒนาเร็ว ราคาลดลง
-Centrino chip จริงๆแล้วเราไม่ค่อยได้ใช้แอพพลิเคชั่นอะไรที่ซับซ้อนมากมายในเครื่องคอมฯ +กว่าจะเปิดปิดคอมใช้เวลานาน เลยหันมาใช้มือถือสะดวกกว่า เร็วกว่า เพราะไม่ได้ใช้อะไรซับซ้อนก็ทำธุรกรรมได้
-Availability of internet access in automobile จำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
-Networks  3G,4G ประเทศไทยน่าจะมี3Gใช้ปีหน้า2554
-The service economy รายได้ของบ.มือถือไม่ได้มาจากแค่ค่าบริการ ต้องขายพวกคอนเทนท์ ริงโทนด้วย เพราะถ้าขายvoice serviceอย่างเดียว ธุรกิจมันไม่โตแล้ว

Mobile Computing Infrastructure
       WAP (Wireless Application Protocol) – a set of standards designed to extend Internet services to mobile phones, pagers, and PDAs   protocolเป็นภาษาสากลที่ใช้กัน
       Markup languages: WML, XHTML
       Mobile development: .NET compact, Java ME, Python
       Mobile Emulators เอาไว้เล่นเกมในคอม
       Microbrowsers: Android, Safari, IE mobile, Firefox mobile
       HTML5 เป็นprotocolใหม่ ที่พยายามจะให้เป็นstandard ของเก่าใช้flash/Javaต้องมานั่งอัพเดท แต่HTML5ทำเป็นเหมือนหน้าเว็บเลย ไม่ต้องมานั่งอัพเดท Appleไม่ค่อยรองรับflash เพราะพยายามจะใช้HTML5

-3G จริงๆแล้วก็ไม่ได้จำเป็นสำหรับผู้ใช้ทั่วไปเท่าไร แต่สำหรับผู้ประกอบการจำเป็นมาก
-WiMax เป็นเสาไฟฟ้าใหญ่ๆ เพื่อส่งwirelessให้ครอบคลุมทั้งเมือง(จากเดิมที่ส่งสัญญาณกันแค่ในบ้าน) ประเทศไทยมีทดลองใช้ที่ม.แม่ฟ้าหลวง ถ้ามีทั้ง3G&WiMaxใช้จะดีมาก แต่ผู้ประกอบการไม่ได้รับประโยชน์มากเท่าไร เลยไม่มีคนทำ
                -BlackBerry OS ใช้social network effect ทำให้คุณค่าของสินค้ามากขึ้น เพราะคนใช้จะไม่สามารถออกจากวงสังคมนี้ได้ เพราะจะทำให้คุณค่าของมือถือลดลง แต่ถ้ายิ่งมีเพื่อนใช้มากขึ้น ก็จะยิ่งมีคุณค่ามากขึ้น
                -Android OS ในอเมริกา คนที่ใช้จะมีอายุนิดนึง อนุรักษ์นิยม ไม่ใช่คนเมืองจ๋า Appleพยายามพัฒนา
M-Commerce Business Models
       Usage fee model (subscription based/usage based)
       Shopping Business Models
       Marketing business Models
       Improved Efficiency Models
       Advertising Business Models (Flat fees/Traffic-based fees)
       Revenue-Sharing Business Models
เช่น บ.เพลง ขายแต่เพลงไม่ได้แล้ว มาขายคอนเทนท์ ริงโทนแทน แล้วแชร์รายได้กับบ.มือถือ
Mobile Banking & Stock Trading ไว้ใช้โอนเงิน จ่ายเงิน เพิ่มการใช้บริการของธนาคารให้มากขึ้น
                ITunes
Apple ไม่ได้ตั้งใจจะขายฮาร์ดแวร์ อย่างiphone ipod บางทีfeaturesต่างๆสู้บ.อื่นไม่ได้ แต่ขายดี เพราะเค้าขาย contents เช่น iTunes Appleใช้เป็นmusic door แค่ไปดาวน์โหลดiTune store มีทั้งพวกเพลงเก่า นักร้องไม่ดัง/ไม่มีที่ขาย แล้วเค้าขายแค่99เซ็นต์ ไม่เกิน2เหรียญ ซึ่งเป็นราคาที่คนรับได้ คนยอมจ่ายเพื่อซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ (ในช่วงที่downloadกำลังบูม) ตอนนี้ iTunes ขายเพลงได้66%ของเพลงที่ขายได้ทั้งหมดในอเมริกา Win-Winทั้งapple นักร้อง ค่ายเพลง
                App Store
Applicationเล็กๆน้อยๆ ที่appleขายก็ 99 เซ็นต์เหมือนกัน ไม่เกิน 5 เหรียญ คนที่พัฒนาก็เป็นคนธรรมดาที่ขายให้iTune storeทำให้มีcontentsเยอะ(long tail) จากเดิมที่ต้องเป็นบ.ใหญ่ๆพัฒนา ขายราคาแพงๆ
                บ.ต่างๆพอเห็น Apple ขายดี ก็จะมาทำให้เครื่องมือ เครื่องใช้เสริมให้ เช่น case ลำโพง ฯลฯ แล้วพอผลิตให้ Apple แล้วก็จะไปผลิตให้บ.อื่นไม่ได้/ไม่สะดวกแล้ว +คนใช้ พอเห็นแอปเปิ้ลมีฟังก์ชั่นเสริมเยอะก็สบายใจว่าซื้อไปแล้ว มีaccessoriesให้ใช้แน่นอน
Interactive book พวกหนังสือนิทาน สำหรับเด็ก ขายดีมาก แอปเปิ้ลพยายามผลักดันให้มาอ่านหนังสือE-book
iPad ทำให้ชีวิตคนเปลี่ยน ที่กระทบมากคือพวก นสพ นิตยสาร เพราะคนไม่ค่อยอ่านกระดาษแล้ว เลยไปขายแบบออนไลน์แทน
Kindle  ไว้อ่านหนังสืออย่างเดียวเลย(E-paper) แต่พวกiPadยังเป็นแอพฯที่เชื่อมกับคอมอยู่(จอกระพริบตลอดเวลาเหมือนคอม) แต่E-bookไม่กระพริบ
Augmented Reality ความเป็นจริงเสมือน แปลงของจริงเป็นโลกเสมือน เช่น เอามือถือไปส่องดูตามบ้านเพ่อให้รู้ว่าบ้านไหนขายมั่ง แปลงภาษาอังกฤษเป็นสเปน  ในไทยมีแสนสิริ เลย์ทำ
ข้อจำกัด
-           3G ยังไม่เข้ามา
-           กลัวไม่ปลอดภัย เช่น e-banking
-           iPadใหญ่ ขี้เกียจพก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น