วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

Journal week3


Transaction Processing Systems (TPS)
-ช่วยในเรื่องของการทำงานที่มีลักษณะการทำงานที่ซ้ำๆกัน
-เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง มักเก็บตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real Time)
-ช่วยให้องค์กรทำงานประจำได้อย่างถูกต้องและแม่นยำขึ้น เช่น เช่น การซื้อวัตถุดิบ การวางบิล การคำนวณเงินเดือน
ลักษณะของ TPS
*    มีการประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก
*    แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก
*    กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์
*    มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก
*    มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว เนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจำนวนมาก
*    ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน
*    ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย
*    มีการรักษาความปลอดภัย ตลอดจนการรักษาข้อมูลส่วนบุคคลมีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับ TPS
*    ต้องมีการประมวลผลที่มีความน่าเชื่อถือสูง

Data entry
บันทึกข้อมูลขั้นตอนแรก เช่น pos ในร้านสะดวกซื้อ
Transaction processing
1. real time online ประมวลผลทันที ซื้อของออนไลน์ใช้บัตรเครดิต
2. batch แบงก์ 7-11ซื้อขายตลอดเวลา แต่อัพเดทสต๊อกแค่ตอนเย็น

Database updating
บันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูลและจัดการกับฐานข้อมูล เป็นซอฟแวร์
สิ่งต้องคำนึงถึง
-ค.ถูกต้อง
-ค.เป็นปัจจุบันของข้อมูล

Document and report generation
-ออกรายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น ใบรายการขาย เช็คสั่งจ่าย เพื่อเอามาเปรียบเทียบกันได้

Inquiry processing
-รับคำร้องสอบถามข้อมูล ผ่านอินเตอร์เน็ต,intranet, extranet, web browserตลอดทั้งระบบจัดการฐานข้อมูล
-นำเสนอในรูปแบบเอกสาร หรือแสดงทางหน้าจอ เช่น เวลาเราถามพนง.ว่ามีของเหลือมั้ย
วัตถุประสงค์ของระบบประมวลผลการเปลี่ยนแปลงTPS
-เพื่อตอบคำถามที่เกิดประจำวัน
-ติดตามรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในองค์กร
-เพื่อผลิตและเตรียมสารสนเทศสำหรับระบบประเภทอื่นๆ

ผู้ที่ใช้ TPS
-ผู้ทำงานในระดับปฏิบัติการ operation level
-ผู้ควบคุมดูแลระดับล่าง advisor
-ผู้จัดการ

ตัวอย่างงาน TPS แต่ละฟังก์ชัน
- accounting information systems ใช้ประมวลผลสั่งซื้อ ทำบัญชีลูกหนี้เจ้าหนี้ ทำgeneral ledger
- marketing information systemเช่น dell เป็นเจ้าแรกที่คิดขายคอมในเน็ต ส่งAdvertisingไปถึงตัวเราได้เลยทาง sms, email
- Intelligent Transportation System ในต่างประเทศมีรถแท็กซี่อัจฉริยะ Mobile สั่งจองแท็กซี่ได้ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ทำให้ลูกค้าขึ้นได้ทันทีถ้ามีแท็กซี่อยุ่แถวนั้น และแท็กซี่จะโดนtrackด้วยgps ทำให้ปลอดภัยต่อผู้โดยสาร
ในประเทศไทย ก็มีการประยุกต์ใช้ TPS ในการควบคุมการจราจรเช่นกัน คือ
1.ระบบการจัดการจราจร  เกี่ยวข้องกับการควบคุมสัญญาณไฟจราจร ใช้เซ็นเซอร์เพื่อตรวจสอบการเกิดอุบัติเหตุ
2.ระบบการให้ข้อมูลข่าวสารการเดินทาง เป็นระบบแนะนำเส้นทางติดตั้งในรถยนต์
3. ระบบความปลอดภัยในยานพาหนะและการจัดการเหตุฉุกเฉิน มีการควบคุมความเร็วอัตโนมัติ ระบบPre-Crash Safety
4.ระบบการบริหารจัดการสินค้า ใช้เทคโนโลยีในการตรวจปล่อยรถแบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการและติดตามรถบรรทุก
5.ระบบการจัดการรถขนส่งสาธารณะ บอกตำแหน่งของยานพาหนะ ทำให้ทราบเวลาในรอรถ
6.ระบบชำระค่าโดยสารอัตโนมัติ ใช้RFID หรือ Smart Card ทำให้ไม่ต้องจอดรถรอจ่ายเงิน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น